Home  >   Top page  >   Thai Page  >  Religion

タイの宗教

大多数のタイ人は小乗仏教に敬虔な心を持ち、志を同じくする国王には絶対的な尊敬の念が注がれます。例えば、 映画館では上映に先立って映し出される国王の姿に全員が起立して、とわの繁栄を願います。タイ語は英語よりもずっと簡単ですが、 人称の表示法は日本語よりも複雑で特に尊敬する人物に対する呼び方は非常に多様です。

 このページはBenjawan Poomsan Beckerさんの許可を得ず著書 “Thai for Advanced Readers”より引用したものです。 著者に敬意を表するため、 このページに関するテストを受けてみてください。

ศาสนาในประเทศไทย Religions in Thailand
คนไทยมากกว่าร้อยละ เก้าสิบนับถือศาสนา พุทธนิกายหินยาน ซึ่งเป็นนิกายที่นับถือและปฏิบัติกันใน More than 90% of Thai citizens are Hinayana Buddhists. Hinayana is a Buddhist sect that is followed in some countries of Southeast Asia, including Thailand, Laos, Burma and Cambodia.
กลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์ได้แก่ ประเทศไทย ลาวพม่าและเขมร タイ人の9割以上は小乗仏教です。小乗仏教はタイ、ラオス、ミャンマー、カンボジアなど東南アジアに及ぶ一宗派です。
ส่วนอีกนิกายหนึ่ง ของศาสนาพุทธ เรียกว่านิกายมหายาน ซึ่งนับถือ และปฏิบัติกัน The other sect of Buddhism is Mahayana, which is followed in some countries to the north of Thailand and other countries in East Asia, including Nepal, Tibet, and China, Korea, Mongolia, Vietnam and Japan.
ในกลุ่มประเทศทางทิศเหนือ ของไทยและในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกได้แก 一方、他の宗派 大乗仏教はタイ北部、ネパール、チベット、中韓日、モンゴリア、ヴィエトナムの東アジアに及んでいます。
่ ประเทศเนปาล ธิเบต จีน เกาหลี มองโกเลีย เวียดนาม และญี่ปุ่น
ศาสนาพุทธนิกายหินยานเน้นในหลักของการมีชีวิตอยุ่สามประการด้วยกันคือทุกข์ อนิจจาและอนัตตา Hinayana Buddhism emphasizes the three principles of existence: dukkha, anicca and anatta. Dukkha is disease and suffering. Anicca is impermanence, transience. Anatta is non-substantiality.
ทุกข์คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ อนิจจาคือความไม่เที่ยง ความไม่คงที่ และอนัตตาคือความไม่มีต้วตน 小乗仏教はトゥック(苦)、アニチャ(はかなさ)、アナタ(実態)の3つのプリンシプルを強調します。
ผ้ค้นพบสัจธรรมนี้เป็น ศาสดาหรือผู้ให้กำเนิดศาสนาพุทธคือ พระสัมมาสัมพุทธเจาซึ่งมีนามเดิมว่าเจ้าชาย The person who founded Buddhism was the lord Buddha, whose former name was prince Siddhartha. Buddhism originated in India about six centuries before the Christian era.
สิทธัตถะศาสนาพุทธมีกำเนิดในประเทศอินเดีย ประมาณหกศตวรรษคริสต์ศักราช 仏教の祖は紀元前6世紀ごろ、インドを源にする仏陀(元の名シッダタ王子)です。
เจ้าชายสิทธัตถะได้สละราชสมบัติและได้เข้าบำเพ็ญทุกกรกริยาในป่าเป็นเวลาหกปีจนกระทั่งตรัสรู้ Prince Siddhartha renounced his wealth and gave himself up to penance and self-torment in a forest for six years until he reached enlightenment and became the Arahat. Lord Buddha stressed four noble truths:
เป็นพระอรหันต์ พระพุทธเจ้า 彼は、富を放棄し森で6年間修行を積み、4つのオラハットを生み出します
ได้กล่าวเน้นถึงความจริงอย่างประเสริฐสี่ ประการหรือเรียกว่า อริยสัจสี่ซึ่งได้แก่
ที่๑ ทุกข์ คือความไม่สบายกายสบายใจ สภาผที่ทนอยุ่ได้ยาก 1. Dukkha is suffering and conditions that are difficult to tolerate.
トゥックは心身の病苦で耐えられない状態
ที่๒ สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์ซึ่งได้แก่ ตัณหา 2. SamuThai, the cause of dukkha, is desire.
サムタイはトゥックの原因でありすなわちタンハ
ที่๓นิโรธ คือความดับทุกข์หรือดับตัณหาได้สิ้นชิง ภาวะปลอดทุกข์ 3. Niroth is the cessation of samuThai (desire) and, hence, of dukkha (suffering).
ニロはサムタイを終えるつまりトゥック
ที่๔ มรรค คือหนทางในการดับทุกข์ 4.  Makka is the path to eliminate dukkha.
モカはトゥックを取り除く方法
ซึ่งมีองค์ ๕ ประการด้วยกันเรียกสั้นๆ ว่ามรรคแปดมีคังต่อไปนี้ It consists of eight factors and is called Makka Bpet (the eight-fold path) for short.
これには8つの要素があり略してモカペットと呼ばれる。つまり
ที่๔.๑ สัมมาทิฏฐิ - เห็นชอบ 1. Right understanding
理解
ที่๔.๒ สัมมาสังกัปปะ - ดำริชอบ 2. Right thought
思考
ที่๔.๓ สัมมาวาจา - เจรจาชอบ 3. Right speech
言論
ที่๔.๔ สัมมากัมมันตะ - ทำการชอบ 4. Right action
行動
ที่๔.๕ สัมมาอาชีวะ -เลี้ยงชีพชอบ 5. Right livelihood
生活
ที่๔.๖ สัมมาวายามะ -เพียรชอบ 6. Right effort
努力
ที่๔.๗ สัมมาสติ -ระลึกชอบ 7. Right mindfulness
留意
ที่๔.๘ สัมมาสมธิ - ตั้งจิตมั่นชอบ 8. Right concentration
集中
ชาวพุทธบางคนเชื่อในเรื่องการปฏิบัติตามทางสายกลางหรือเรียกว่ามัชฌิมาปฏิปทาคือ Many Buddhists believe in following the middle path, or Matchimapatipatha, which is a practice that is not too loose or too strict. The ultimate goal in Buddhism is to reach Nirvana by the total elimination of desire and dukkha.
การปฏิบัติที่ไม่หย่อนเกินไป 多くの仏教徒は厳格でもルーズでもないマチマパチパタを順信している。ニルヴァナ(キレとトゥックを除く事)に達することを最終目的としている。
และไม่ตึงจนเกินไปจุดหมายสูงสุดในพุทธศาสนาคือการเข้าถึงนิพพานซึ่งหมายถึง
การดับกิเลสและกองทกข์
คนไทยที่เคร่งในศาสนาพุทธถือศีลห้าเป็นหลักในการดำเนินชีวิตประจำวันศีลห้าเป็น Thais who are strict Buddhists live their every day lives according to the principles of the Five Precepts. The Five Precepts are prohibitions as follows:
ข้อห้ามที่ควรละเว้น ได้แก่ 厳格なタイ仏教徒はつぎのシンハ(5つの禁制)を守っている。
๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์ 1. Abstain from killing
殺生しない
๒. เว้นจากการลักรัพย์ 2. Abstain from stealing
窃盗しない
๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม 3. Abstain form committing adultery
禁欲する
๔. เว้นจากการพูดเท็จ 4. Abstain from lying
うそをつかない
๕. เว้นจากการดื่มสุราหรือบริโภคของมึนเมา 5. Abstain from drinking alcohol or consuming intoxicants
禁酒、タバコなどの有害物を避ける
คนธรรมดาสามัญมักถือเฉพาะศีล ๕ ยกเว้นบางโอกาสจะรักษาศีล ๘ ผู้ที่รักษาศีล ๘คือแม่ซี ศีล Normal lay people generally follow only the five precepts, although some adopt the practice of eight precepts. Nuns follow eight precepts, novices ten precepts and monks 227 precepts.
๑๐ สำหรับสามเณรและศีล ๒๒๗ สำหรับพระภิกษุ 通常の人は以上の禁制5つ、他に尼僧は8つ、修道士は10の、僧侶は227のそれぞれ教示をもっている。
ศาสนาที่คนไทยนับถือรองจากศาสนาพุทธคือศาสนาอิสลามที่คาดว่ามี The second largest religion in Thailand after Buddhism is Islam which is followed by an estimated four percent of the country’s population. The rest practice Christianity, Hinduism and other doctrines. Thailand gives religious freedom to everyone because every religion teaches one to be a good person.
ประมาณร้อยละสี่ของประชากรของประเทศ ที่เหลือคือผู้นับถือ タイ国で仏教の次に多いのがイスラム(推定4%)で、ほかにキリスト教、ヒンズーなど。タイでは宗教の自由が認められている。どんな宗教も人をよくするためにあるからである。
ศาสนาคริสต์ฮินดูและลักธิต่างๆ ประเทศไทยให้สิทธิเสรีภาพกับทุกคนในการนับถือศาสนาเพราะทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดี

試聴

to this Page Top